Design

Women in Design Series: Sarin Tgamol and The Art of Textile

Philosophy: Devil is in the details.
Words by
Anantaya
Location
Thailand

Sarin Tgamol Summary

In a world where everything is being driven by technology, people tend to live a fast-paced life. However, there is someone who is willing to walk slowly among this need for speed, not counter it but just not speed up with the surrounding world.

Sarin Tgamol, a textile designer and owner of Sarin Tgamol Textile Design Studio, is that person. She is prominent for her delicate details. “Devil is in the details” is her design philosophy.

The reason why she loves to work slowly is because it gives her a time to focus on the detailed craftsmanship. Nevertheless, details don’t mean perfection.

Since every process in her work is handcrafted, the unpredictability of working by hand is unavoidable. In the other way, those errors from handicraft always surprise her by their creation of each imperfection's uniqueness. Sarin first started out in architecture, but then she realised that it was not her way. Applying for a short textile printing course, she found herself in it and decided to apply for the textile in expanded fields in Stockholm. Her unhurried style not only gives a time for details but also inspirations. She mostly finds an inspiration in the little details of daily life.

Taking a break when things are too intense is a way to retain the standard of her works. Bad temper and pressure never work with delicate craftsmanship.

Another interesting aspect of her is that she enjoys trying new things, new weaving techniques and new colour tones. This is why we can remember her as a craft-based experimental textile designer who put her heart and soul into every stitch.

---

ลวดลายบนผืนผ้าที-ผ่านการปักเย็บอย่างประณีต เรียงร้อยเป็นเรื-องราวมากมายที-ถ่ายทอดตัวตนของคุณลูกหนู สาริน ทัศนเทพ
กมล จาก Sarin Tgamol Textile Studio นักออกแบบลายผ้าผู้หลงใหลในการทํางานด้วยมือ ซึ-งเป็นการกลับสู่สามัญของกระบวนการตั \งแต่
ออกแบบลาย พิมพ์ลาย และเย็บปักถักร้อยโดยแทบจะไม่มีการเข้ามายุ่งเกี-ยวของเครื-องจักร
ในยุคที-ชีวิตเดินไปอย่างรวดเร็ว การจะสร้างชิ \นงานอะไรสามารถทําได้เลยในคอมพิวเตอร์เพียงแค่ปลายนิ \วคลิก คุณลูกหนูเป็นอีก
หนึ-งคนที-ยังคงพอใจในการทํางานด้วยมือที-อาจไม่เร็วทันใจ แต่มีช่วงเวลาให้ได้ดื-มดํ-ากับทุกสัมผัสของเส้นไหม เธอไม่ได้เดินสวนทางกับโลกที-
หมุนไปอย่างรวดเร็ว เธอแค่ค่อยๆ เดินไปช้าๆ ในแบบของเธอ และการเดินอย่างช้าๆ นี \เปิดโอกาสให้เธอได้ใส่ใจในทุกรายละเอียด และนี-คือสิ-ง
ที-โดดเด่นที-สุดในงานของเธอ

ความเป็ นมาของ สาริน ทัศนเทพกมล และ Sarin Tgamol Textile Design Studio

“เราชอบความรู้สึกในการจับผ้า ในการทํางานด้วยมือ”
“เราเรียนจบจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แต่พอทํางานในวงการสถาปัตยกรรมซึ-งต้องใช้คอมพิวเตอร์
ไปได้สักพัก เรารู้สึกว่ามันไม่ได้ตอบโจทย์ชีวิตเรา เลยไปลองเวิร์กชอปเกี-ยวกับผ้า ไปลองทอผ้า พิมพ์ผ้า พอเราได้ลองทํางานด้วยมือเลยรู้สึก
ชอบมากกว่า สบายใจกว่า ต่อมาก็เลยไปลงเรียนคอร์สั \นๆที-สวีเดน เป็นการพริ \นต์ผ้า เรียนตั \งแต่เบื \องต้นทั \งวิธีการผสมสี พริ \นต์ผ้า อัดบล๊อค
สร้างลายผ้า ต่อลายผ้าให้พิมพ์ออกมาแล้วกลายเป็นม้วนใหญ่ๆ ซึ-งต้องทําด้วยมือเกือบทั \งหมด เรารู้สึกชอบมากๆ เลยไปสมัครเรียนที-
สตอกโฮล์ม หลักสูตร Textile in Expanded Field พอได้เข้าไปเลยทําให้รู้ว่ามันไม่ใช่แค่ผ้า มันเปิดกว้างมาก เราสามารถใช้วัสดุอื-น เช่นเอา
หลอดพลาสติกมาสานได้ และมีวิชาตั \งแต่พื \นฐาน มันเลยค่อนข้างเปิดโลกเรา
“ที-สตูดิโอของเราทํางานผ้าโดยที-เน้นงานมือเป็นหลัก งานส่วนใหญ่จะใช้วัสดุจากผ้า อาจจะมีวัสดุอย่างอื-นบ้าง งานของเราก็จะมี
หลายอย่างมากๆ ทั \งออกแบบลายผ้า หรือพวกอินทีเรียในร้านอาหารหรือคาเฟ่ และงานศิลปะ เช่นการ จัดนิทรรศการ”
“จุดที-ชอบที-สุดของการทํางานผ้า คือการเจอเซอร์ไพรส์ระหว่างการทํางาน โดยปกติ มันอาจจะเป็นความผิดพลาดระหว่างการ
ทํางาน แต่ถ้าเรามองอีกมุมหนึ-งข้อผิดพลาดนี \ทําให้เราเจอผลลัพธ์ใหม่ๆ ที-ทําให้งานเราน่าสนใจมากขึ \น พวกนี \จะเจอได้ต่อเมื-อเราทํางานด้วย
มือ เช่นเราไปเก็บด้ายตรงนี \แล้วมันเกิดกระโดดขึ \นมา มันอาจจะกลายเป็นสวยแล้วเราก็เก็บเทคนิคนี \เป็นเทคนิคเฉพาะตัวได้ เกิดเป็น
ลักษณะเฉพาะขึ \นมา”

บุคคลทีQเป็ นแรงบันดาลใจของสาริน ทัศนเทพกมล
“จริงๆแล้วเราคิดว่าแรงบันดาลใจน่าจะมาจากสิ-งรอบตัวหรือสิ-งที-เกิดขึ \นในชีวิตประจําวันมากกว่า อาจจะเป็นแค่สิ-งเล็กๆ น้อยๆ ก็
ได้”
“เรามีไอดอลหลายคนมาก จะเปลี-ยนไปตามช่วงอายุ ช่วงที-อินกับการทอผ้ามากก็จะเป็นป้าแสงดา ศิลปินแห่งชาติ พอไปพริ \นต์ผ้า
แถวสแกนดิเนเวียนก็จะชอบงานของ Marimekkoเปลี-ยนไปเรื-อยๆ ตามรูปงาน”
วิธีฟืXนตัวเองเวลาทีQหมดไฟ
“ยังไม่เคยหมดไฟ”
“อาจจะมีเบื-อบ้างนะ เวลาที-คิดงานไม่ออกก็จะออกไปข้างนอก หาอะไรทํา แต่ไม่ค่อยเป็นเลยนะ คือมีเครียดนะ แต่งานที-ทําอยู่มัน
เป็นการผสมงานอดิเรกกับอาชีพเข้าด้วยกัน มันก็เครียดบ้างเพราะในแง่ของอาชีพก็จะมีเรื-องต้นทุน เวลาเข้ามา แต่ในความเครียดก็ยังเป็น
ความสุขของงานอดิเรกที-เรารักอยู่ แต่ก็ต้องพยายามทําให้สมดุล คือหมดไฟหรือคิดไม่ออกไม่ค่อยมี แต่ถ้าอารมณ์ไม่ดีก็ต้องหยุดทํางาน เคย
อยากรีบทําให้เสร็จเลยอารมณ์ไม่ดี มันกระทบกับงานเรา ปักออกมาไม่สวยหรือไม่ได้ตามที-คิดไว้ หลังจากนั \นพออารมณ์ไม่ดีเราก็จะหยุด ไป
ฟังเพลง แล้วอารมณ์ดีค่อยกลับมาทําใหม่ Take a break”

หลักการในการออกแบบของ สาริน ทัศนเทพกมล
“The devil is in the details”
“เวลาทํางานอะไรจะค่อนข้างเน้นเรื-องรายละเอียด งานส่วนใหญ่ที-ทําจะมีรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ บางทีอาจไม่ใช่รายละเอียดที-
เห็นตั \งแต่แรกเจอ ต้องค่อยๆ มองลงไปแล้วจะค่อยๆเห็น ทําให้งานที-ดูธรรมดา แต่จริงๆ แล้วมีสิ-งที-ไม่ธรรมดาซ่อนอยู่ เป็นการเพิ-มความ
น่าสนใจของงาน”

สิQงทีQอยากแก้ไขและทําเพิQมหากย้อนเวลากลับไปตอนเริQมเป็ นดีไซน์เนอร์
“จริงๆอยากย้อนตอนนี \กลับไปเป็นตอนนั \น”
“ตอนนั \นสบายใจมากเลย สบายใจกว่าตอนนี \อีก (หัวเราะ) ตอนนี \งานหลายอย่างมากๆ และต้องทํางานร่วมกับคนเยอะมากๆ ตอน
นั \นมันเหมือนอิสระ งานไม่เยอะมาก มีเวลาอยู่กับตัวเองเยอะ โฟกัสกับสิ-งที-อยากทําจริงๆ โฟกัสกับงานได้ละเอียดมาก คงไม่อยากกลับไปแก้
อะไร มันไม่ต้องคิดอะไรเยอะ คิดแล้วก็ทําเลย สบายๆ ทําอะไรแล้วไม่เวิร์กก็เอาใหม่ แต่เอาจริงๆ ตอนนี \ก็สนุกนะ ทํางานหลายแบบมาก ได้เจอ
คนหลากหลาย”

ประเด็นและปัญหาในวงการดีไซน์เนอร์ไทยดีไซน์เนอร์หน้าใหม่
“เมื-อก่อนคนไทยยังไม่ได้ให้คุณค่ากับคนที-ทํางานอาร์ตหรือเป็นดีไซน์เนอร์ ปัจจุบันมันดีขึ \นนะ แต่มันก็ยังเป็นส่วนน้อย”
“มันไม่ได้เป็นอาชีพที-ทุกคนให้ความสําคัญ บางคนก็จะไม่เข้าใจว่าทําไมค่าออกแบบมันถึงต้องแพง สมมุติว่ามีทุนก้อนนึง ต้นทุน
แรกที-ถูกตัดคือเรื-องดีไซน์ ด้วยความที-เราเป็นดีไซน์เนอร์ เราต้องทําให้เขาเข้าใจ ต้องแนะนําในสิ-งที-ดี เพื-อให้เขาเห็นว่าทําไมถึงแพง ทําไมถึง
ต้องจ้างเรา แล้วสิ-งที-ได้รับจากเรามันจะทําให้เกิดอะไรดีๆ ได้บ้าง ทุกงานออกแบบไม่ใช่ว่าต้องแพงเสมอไปนะ แต่มันก็ต้องมีค่าใช้จ่ายด้าน

ต้นทุนทางความคิด ซึ-งเป็นส่วนที-จะทําให้งานมันดี ทุกวันนี \ก็ดีขึ \นมากๆ แล้ว มี TCDC หรือองค์กรต่างๆ ที-สนับสนุนงานดีไซน์ ให้ความรู้
เกี-ยวกับเรื-องนี \ แต่บางทีมันก็ยังน้อย
“และเราคิดว่าดีไซน์เนอร์ควรไปจับมือกับชาวบ้านในเรื-องผลิตภัณฑ์พื \นบ้าน ไปช่วยกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ต้องร่วมมือทาง
ความคิดกัน ซึ-งเป็นเรื-องที-ยังมีน้อย บางทีตัวศิลปินก็ไม่ลงไปคลุกคลี ชาวบ้านก็ไม่เปิดรับ”
สQงทิ Qอียากถกู จดจาํ หรือถกู กล่าวถงึ
“เป็น Experimental Textile Designer”
“ชอบทดลองทํางานใหม่ๆ เช่นใช้สีย้อมแบบใหม่ที-ไม่ได้อยู่ในตํารา เรามาลองทําเอง ทําโทนสีของเราเอง เป็นคนที-ทํางาน textile ที-
เป็น Craft-based และเน้นเรื-อง Experiment”

สัมภาษณ์และเรียบเรียงโดยนางสาวอนันตญา พรวิเชียรวงศ์

Related Articles